วันพุธที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2559

วิธีการลบฟอนต์ออกจากเครื่อง




วิธีการลบฟอนต์ออกจากเครื่อง (Windows)

การนำฟอนต์มาใช้งานนั้น ในยุคสมัยนี้เป็นเรื่องที่ง่ายมาก เพียงแค่คุณมีอิเตอร์เน็ตก็สามารถดาวน์โหลดฟอนต์ต่างๆ ที่ผู้ผลิตปล่อยออกมาให้ทดลองใช้อย่างมากมาย แต่หลังจากนั้นล่ะ เมื่อใช้เสร็จแล้วอยากจะนำออกอย่างถูกวิธีจะทำอย่างไร 



1.คลิกที่เมนู Start หลังจากนั้นในช่อง Search programs and file ให้พิมพ์คำว่า "regedit" ลงไปในช่องเสิร์ช 



2. จะขึ้นหน้าต่าง Regedit  คือโปรแกรมที่เก็บค่าการตั้งค่าส่วนต่างๆ ของระบบปฏิบัติการ Windows ซึ่งตัว regedit จะทีหน้าเป็นศูนย์กลางการควบคุมทุกๆเรื่องในระบบวินโดวส์ ซึ่งถือว่าสำคัญมาก ดังนั้นวินโดวส์จึงสร้างทงเข้าไว้อย่างลับๆ ในส่่วนนี้เราเลือกที่  HKEY_LOCAL_MACHINE หลังจากนั้น SOFTWARE




                                                           3.Microsoft                          







                                           

                                                          4.WindowsNT
   
5.CurrentVersion 



6.FONT

7.จะเจอที่เก็บฟอนต์ที่แท้จริงของระบบวินโดวส์นั้นเอง ทางด้านซ้ายคือชื่อของฟอนต์ ด้านขวาคือชื่อของตะกูลฟอนต์ว่าเป็นไฟล์ประเภทใด เมื่อเจอแล้วก็คลิกขวา ณ ฟอนต์ที่ต้องการนำออก และเลือกคำสั่ง Delete เท่านี้ก็สามารถจัดการกับไฟล์ฟอนต์ที่ฝังอยู่ในเครื่องของเราได้แล้ว

วันอังคารที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2559

Font Book



Font Book

นำเสนอรูปแบบการในไปใช้งาน และขั้นตอนวิธีการสร้างฟอนต์


 

มูดบอร์ดแสดง แรงบันดาลใจ ที่มาขั้นตอนการสร้างสรรค์ และรูปแบบการนำไปใช้งานจริง


รายงาน gift on the moon

วันอังคารที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2559

บันทึกการเรียนครั้งที่12

บันทึกการเรียน
เราควรตรวจสอบความเรียบร้อยของงานให้มากขึ้น ก่อนการส่งงาน และการส่งออก
วิธีการเช็คการซ้ำของฟอนต์ที่เราออกแบบ และฟอนต์บนโลก (ภ.อังกฤษเสถียรที่สุด)
เข้าไปที่  http://www.myfonts.com/WhatTheFont/ และ Choose File 
และ มูดบอร์ดนำเสนอแนวความคิดการผลิตสินค้าเพื่อร่วมกิจกรรม งานกิ๊ฟต์ ออน เดอะ มูน  ที่จะจัดขึ้นในวันที่ 30-1 เมย 59 เสนอสิ้นค้าจำนวน 3 ประเภท ได้แก่ 1.เสื้อยืด 2.ที่เปิดขวดตัวอักษร 3.แก้วน้ำสกรีนลาย 

การบ้าน
ออกแบบฟอนต์ san-serif Display font เป็นงานใหม่ก่อนปิดครอส


และความคืบหน้าของสินค้า งาน กิ๊ฟต์ ออน เดอะ มูน

วันอังคารที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2559

ตัวอย่างการใช้งานฟอนต์




ประวิทย์ฟอนต์ เป็นฟอนต์ที่สร้างขึ้นเพื่อเป็นที่ระลึกในการเกษีณอายุราชการ 

วันอาทิตย์ที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2559

บันทึกการเรียนครั้งที่

บันทึกการเรียน

งานกิ้ฟต์ ออน เดอะ มูน ธีมงานปีนี้คือ Magic of Art (เวทย์มนต์แห่งศิลปะ)

การบ้าน
- งานประกวด ต้องผ่านการตรวจ 2 ครั้งถึงจะพิจารณาเป็นที่ปรึกษา แล้วจึงอนุญาติให้ส่งประกวดได้
- ทำหนังสือจำลองเรื่องใดก็ได้หนึ่งเรื่อง เพื่อโชว์ฟอนต์ลายมือที่ทำเสร็จแล้วขนาดใดก็ได้
- พรีเซนต์งานกลุ่ม เพื่อนำเสนอสินค้าในการออกร้านงานกิ้ฟต์ มีดังนี้ Logo กลุ่ม(ทีคัดเลือกแล้วจากของทุกคน) สโลแกนกลุ่ม เพื่อบ่งบอกความเป็นกลุ่มของคุณ ทั้งหมดนำเสนอใส่มูดบอร์ด และแต่งกายสุภาพ

วันพฤหัสบดีที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2559

ประกวดออกแบบอักษรประดิษฐ์


ประกวดออกแบบอักษรประดิษฐ์ “รางวัลนริศรานุวัดติวงศ์ในด้านอักษรประดิษฐ์” และ ประกวดคัดลายมือภาษาไทย “รางวัล น ในดวงใจ”

Submitted by mod on Sat, 2016-02-27 18:11



มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญนักเรียน และประชาชนทั่วไป ส่งผลงานและสมัครเข้าร่วมการประกวดออกแบบอักษรประดิษฐ์ “รางวัลนริศรานุวัดติวงศ์ในด้านอักษรประดิษฐ์” และ ประกวดคัดลายมือภาษาไทย “รางวัล น ในดวงใจ” เนื่องในงานวันนริศ ประจำปี 2559 ชิงเงินรางวัลมูลค่ารวมกว่า 80,000 บาท พร้อมเกียรติบัตร และเหรียญที่ระลึก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์

วัตถุประสงค์
เพื่อเป็นการเทิดพระเกียรติและน้อมรำลึกถึงสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ในฐานะที่ทรงเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านศิลปะและวัฒนธรรม อีกทั้งทรงมีพระปรีชาสามารถในศิลปะการช่างแขนงต่างๆ

ประเภทการประกวด
1. ประกวดออกแบบอักษรประดิษฐ์ “รางวัลนริศรานุวัดติวงศ์ในด้านอักษรประดิษฐ์” (สำหรับประชาชนทั่วไป)
2. ประกวดคัดลายมือภาษาไทย “รางวัล น ในดวงใจ” (สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษา หรือ ปวช.)

การประกวดออกแบบอักษรประดิษฐ์ “รางวัลนริศรานุวัดติวงศ์ในด้านอักษรประดิษฐ์”
กำหนดส่งผลงานตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไปจนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2559
การส่งผลงาน
ด้วยตนเอง ณ งานประชาสัมพันธ์ ชั้น L สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยศิลปากร ตลิ่งชัน กรุงเทพฯ
ส่งทางไปรษณีย์ โดยส่งถึง งานประชาสัมพันธ์ ชั้น L สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยศิลปากร
เลขที่ 22 ถนนบรมราชชนนี เขตตลิ่งชัน กรุงเทพฯ 10170
ออกแบบชุดตัวอักษรไทยที่ให้ความรู้สึกถึงความเป็นไทย และมีความร่วมสมัย โดยชุดตัวอักษรที่ส่งเข้าประกวดนั้นประกอบด้วย พยัญชนะ ก – ฮ สระ วรรณยุกต์ และตัวเลขไทย และต้องนำมาออกแบบจัดเรียงตามรูปแบบของแพนแกรมในภาษาไทยตามบทกลอน ดังนี้

ธรรมคุณหนุนความดีฑีฆรัตน์  สรรพสัตว์วัฏวจรถอนวิถี
อริยสัจตรัสสังโยคโลกโมฬี  ดังกุมภีร์ผลาญชิวหาบีฑาทนต์
ฟังฉัตรทองของประเสริฐเลิศวิเศษฝ่ายต้นเหตุฎรงกรณ์อุดรผล
ยินสถานฌานสมาอารยะชน  พึงซ่อนกลปรนนิบัตินิวัฒน์แฮฯ

ทั้งนี้ ต้องนำส่งผลงานการออกแบบดังกล่าวในรูปแบบไฟล์ดิจิทัล ขนาด 4800 x 3600 พิก เซล และให้ค่า dot per inch (dpi) ไม่ต่ำกว่า 300 dpi โดยบันทึกไฟล์ภาพในรูปแบบ JPEG และ PDF ลงบน แผ่นซีดีหรือดีวีดี ทั้งนี้ บนผลงานต้องไม่แสดงชื่อ หรือองค์กรใดๆ ของเจ้าของผลงาน
รางวัลการประกวด
รางวัลชนะเลิศ (รางวัลนริศรานุวัดติวงศ์ในด้านอักษรประดิษฐ์) จำนวน 1 รางวัล เงินรางวัล 30,000 บาท พร้อมเกียรติบัตรและเหรียญที่ระลึกสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์
รางวัลรองชนะเลิศ จำนวน 3 รางวัล เงินรางวัล รางวัลละ 10,000 บาท พร้อมเกียรติบัตรและเหรียญที่ระลึก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์

การประกวดคัดลายมือภาษาไทย “รางวัล น ในดวงใจ”
เยาวชน อายุระหว่าง 12 – 18 ปี หรือกำลังศึกษาอยู่ในระดับชั้นมัธยมศึกษาหรือประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)
รางวัลการประกวด
รางวัลชนะเลิศ (รางวัล น ในดวงใจ) จำนวน 1 รางวัล เงินรางวัล 10,000 บาท พร้อมเกียรติบัตรและเหรียญที่ระลึกสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์
รางวัลรองชนะเลิศ จำนวน 5 รางวัล เงินรางวัล รางวัลละ 2,000 บาท พร้อมเกียรติบัตรและเหรียญที่ระลึก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์
สมัครเข้าร่วมประกวดได้ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไปจนถึงวันที่ 1 เมษายน 2559 (รับจำนวนจำกัด)
ส่งใบสมัครทางไปรษณีย์ ถึง
งานประชาสัมพันธ์ ชั้น L สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยศิลปากร
เลขที่ 22 ถนนบรมราชชนนี เขตตลิ่งชัน กรุงเทพฯ 10170
จะดำเนินการประกวดคัดลายมือภาษาไทย ในวันพฤหัสบดีที่ 21 เมษายน 2559 ซึ่งตรงกับการจัดงานวันนริศ ประจำปี 2559
ณ ห้องนิทรรศการ ชั้น 2 ตำหนักพรรณราย หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ กรุงเทพฯ
ติดต่อสอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร สำนักงานอธิการบดี ตลิ่งชัน กรุงเทพฯ
โทร. 0 2849 7538 และ 0 2849 7564 หรือ 0 2849 7500 ต่อ 31111, 31105

ครั้งที่ 5

บันทึกการเรียน

ฟอนต์คือเส้นของ เวคเตอร์(vector) ที่ต่อกันจากจุดต่อจุด
ในการสร้างขนาดของฟอนต์นั้น ภ.ไทย และ ภ.อังกฤษ จะมีขนาดที่แตกต่างกันซึ่ง ภ.อังกฤษตัวพิมพ์เล็กและตัวพิมพ์ใหญ่ โดยทั่วไปจะสร้างให้ ภ.อังกฤษตัวพิมพ์เล็กขนาดเท่ากับ ภ.ไทย ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับเจตนารมณ์ของผู้สร้าง ซึ่งใน ฟอนต์ ลานจันทร์มีขนาดที่เท่ากัน

วันจันทร์ที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

รายงานออนไลน์แปลสรุปข่าวสารทางการออกแบบตัวอักษรเพื่อการพิมพ์  

เรื่องที่ 1 เรื่องGlitched Helvetica



เขียนโดย Tim Turbo
แปลสรุปเรื่องโดย นายจีรวัฒน์ ชาญประเสริฐ


The debut EP by Germany’s new blood in eclectic club sounds, Tim Turbo.
The „Hush (Iggy, Iggy)/Linyora EP“ is brimful with tropical bass flavoursas well as state of the art house rhythms featuring a all new multinationaldancefloor phenominon on the vocals consisting of Gnucci Banana
and her husband Spoek Mathambo.
แปลด้วยเครื่องมือแปล Google Translate
เปิดตัวสอีด้วยเลือดใหม่ของเยอรมนีในคลับผสมผสานเสียง ทิม Turbo
"การ Hush (อิกกี้อิกกี้) / Lindora สอี" เป็นเต็มเปี่ยมด้วย flavoursas เบสเขตร้อนรวมทั้งสถานะของจังหวะ Art House ที่มีปรากฏการณ์ฟลอร์เต้นรำข้ามชาติใหม่กับนักร้องประกอบด้วย Gnucci กล้วย
และสามีของเธอ Spoek Mathambo



ภาพที่1 ข้อความที่ได้รับอิทธิพลจาก สาม 3 มิติ
  


ภาพที่2 ข้อความที่ได้รับอิทธิพลจาก ดนตรีในคลับ



ภาพที่3 ข้อความที่ได้รับอิทธิพลจากดนตรีในคลับ




ภาพที่ 4ที่ได้รับอิทธิพลจาก สาม 3 มิติ


each letter and number are split into three independent versions
แปลด้วยเครื่องมือแปล Google Translate
แต่ละตัวอักษรและตัวเลขจะแบ่งออกเป็นสามรุ่นที่เป็นอิสระ






ภาพที่ 5-6 ลักษณะการนำไปใช้งาน


เรียบเรียงใหม่เพื่อให้เข้าใจง่ายขึ้น
การเปิดตัวด้วยผลงานจาก สายเลือดใหม่ของเยอรมนีใสไตล์คลับผสมผสานเสียงแบบอิเล็กทรอนิกส์
โดย ทิม เทอร์โบ "การ Hush (อิกกี้อิกกี้) / Lindora สอี" เป็นเต็มเปี่ยมด้วย รสชาติของเบสที่เร้าร้อนรวมทั้งงจังหวะในแบบ Art House


รายงานออนไลน์แปลสรุปข่าวสารทางการออกแบบตัวอักษรเพื่อการพิมพ์  

เรื่องที่ 2 เรื่อง Slinktype

จาก http://p-adamek0912-dc.blogspot.com/2011/04/slinktype-by-paul-hollingworth.html



เขียนโดย Pav
แปลสรุปเรื่องโดย นายจีรวัฒน์ ชาญประเสริฐ

slinktype by paul hollingworth

Some interesting and innovative type that is influenced by the iconic child's toy, the slinky. The circular repetition offers a very interesting aesthetic to the typeface. The image-based nature makes it successful in creating some good pieces of design.
แปลด้วยเครื่องมือแปล Google Translate
และเป็นนวัตกรรมใหม่ที่น่าสนใจบางอย่างชนิดที่ได้รับอิทธิพลมาจากสถานที่อันโดดเด่นที่เป็นเสมือนดังสัญลักษณ์ของเล่นของเด็ก , slinky ได้ การเล่นซ้ำแบบวงกลมที่น่าสนใจเป็นอย่างมากจัดให้บริการความงามและความเป็นแบบตัวพิมพ์ ภาพแบบธรรมชาติทำให้ประสบความสำเร็จในการสร้างบางชิ้นที่ดีในการออกแบบ


ภาพที่ 1 แสดงถึงแรงบันดาลใจจากลายเส้นของสปริง
ภาพที่ 2-3 แสดงถึงแรงบันดาลใจจากลายเส้นของสปริง


ภาพที่ 4 แสดงรูปด้านปริมาตรของตัวอักษร


ภาพที่ 5 แสดงถึงการการนำไปใช้งาน



ภาพที่ 6-7 แสดงถึงการนำไปใช้งานบนสื่อสิ่งพิมพ์และรูปที่มาของแรงบันดาลใจ

รายงานออนไลน์แปลสรุปข่าวสารทางการออกแบบตัวอักษรเพื่อการพิมพ์  

เรื่องที่ 3 Prell Typeface - Speciment


จาก

https://www.behance.net/gallery/27356441/Prell-Typeface-Speciment


เขียนโดย Norbert Prell
แปลสรุปเรื่องโดย นายจีรวัฒน์ ชาญประเสริฐ

The original idea was to create a typeface that is similar to a self-portrait.

Prell is a font that reflects the artist’s personality. The design is cheeky and flirtatious but also conservative and deliberate. The fine curves show a poetic and artful approach whereas the classic proportion of the character is a telltale of constructive thinking.

Representing a transition between artistic creativity and classical geometrical thinking Prell can be used for body text as well as headline logo and poster

Prell come with a vast amount of OTF features Alternates and ligatures check out
the Sample PDF to learn more
แปลด้วยเครื่องมือแปล Google Translate
ความคิดเดิมคือการสร้างตัวอักษรที่คล้ายกับตัวเองแนวตั้ง
Prell เป็นตัวอักษรที่สะท้อนให้เห็นถึงบุคลิกของศิลปิน การออกแบบเป็นหน้าด้านและเจ้าชู้ แต่ยังอนุรักษ์นิยมและเจตนา เส้นโค้งที่ดีแสดงให้เห็นถึงวิธีการเขียนบทกวีและเก่งในขณะที่สัดส่วนของตัวละครคลาสสิกเป็นร่องรอยของความคิดสร้างสรรค์
เป็นตัวแทนของการเปลี่ยนแปลงระหว่างความคิดสร้างสรรค์ทางศิลปะและคลาสสิก Prell ความคิดทางเรขาคณิตที่สามารถใช้สำหรับข้อความของร่างกายเช่นเดียวกับโลโก้ทั่วไปและโปสเตอร์
Prell มาพร้อมกับจำนวนเงินที่มากมายของ OTF มีสลับและหนังสติ๊กตรวจสอบตัวอย่างรูปแบบไฟล์ PDF เพื่อเรียนรู้เพิ่มเติม

ภาพที่ 1 ลักษณะการนำเสนอ

ภาพที่ 2 แสดงการเปรียบเทียบของการใช้ใในขนาดต่างๆ

ภาพที่ 3 การเรียงพิมพ์ตัวอย่าง

ภาพที่ 4 แสดงถึงสัดส่วน
ภาพที่ 5 แสดงถึงลักษณะพิเศษของฟอนต์

เรียบเรียงใหม่เพื่อให้เข้าใจง่ายขึ้น
  แนวความคิดเดิมคือการสร้างสรรค์แบบตัวพิมพ์ซึ่งจะคล้ายกับการถ่ายภาพตัวเอง ใช้แบบอักษรที่มี
Prell สะท้อนให้เห็นถึงบุคลิกของศิลปิน ความ ทะลึ่ง ทะเล้น แต่ยังอนุรักษ์นิยมและคิดไตร่ตรองอย่างรอบคอบ ปรับความโค้งมนอย่างบทกวีและวิธีการอย่างมีศิลปะในขณะที่สัดส่วนแบบคลาสสิคของอักขระเป็นไปตามความคิดในเชิงสร้างสรรค์
เป็นตัวแทนของการเปลี่ยนภาพระหว่างทางด้านศิลปะและความคิดสร้างสรรค์ ความคิดทางเรขาคณิตแบบคลาสสิค
Prell สามารถใช้สำหรับข้อความเนื้อหา รวมถึงตัวพาดหัว โลโก้ และโปสเตอร์
Prell มาพร้อมด้วยคุณสมบัติ OTF จำนวนมหาศาลและตัวอักษรควบจะสลับการตรวจสอบตัวอย่าง PDF เพื่อเรียนรู้เพิ่มเติม

รายงานออนไลน์แปลสรุปข่าวสารทางการออกแบบตัวอักษรเพื่อการพิมพ์  

เรื่องที่ 4 เรื่อง Helvetica Font

จาก http://www.historygraphicdesign.com/the-age-of-information/the-international-typographic-style/806-max-miedinger



เขียนโดย เว็บไซด์ ฮิสตอรี่กราฟิกดีไซดน์
แปลสรุปเรื่องโดย นายจีรวัฒน์ ชาญประเสริฐ


Max Miedinger was a Swiss typeface designer. He was famous for creating the Neue Haas Grotesk typeface in 1957 which was renamed Helvetica in 1960. Marketed as a symbol of cutting-edge Swiss technology, Helvetica went global at once.


Between 1926 and 1930 Miedinger trained as a typesetter in Zürich, after which he attended evening classes at the Kunstgewerbeschule in Zürich.


At the age of sixteen Max became an apprentice typesetter at a book printing office for Jacques Bollmann (in Zürich). After four years as an apprentice, Miedinger enrolled in the School of Arts and Crafts. When he was 26 years old, he went to work for an advertising studio called Globe. Here he worked as a typographer and improved his skills. After ten years of working at Globe, Miedinger then gained employment with Haas Type Foundry as a representative. This is where he made his mark on history and designed the most used typeface of the 20th century, Helvetica.


แปลด้วยเครื่องมือแปล Google Translate
แม็กซ์ Miedinger เป็นนักออกแบบตัวอักษรสวิส เขาเป็นคนที่มีชื่อเสียงในการสร้างตัวอักษร Neue Haas Grotesk ในปี 1957 ซึ่งถูกเปลี่ยนชื่อ Helvetica ในปี 1960 ตลาดเป็นสัญลักษณ์ของเทคโนโลยีสวิสที่ทันสมัย, Helvetica ไปทั่วโลกในครั้งเดียว


ระหว่าง 1,926 และ 1,930 Miedinger การฝึกอบรมเป็นช่างเรียงพิมพ์ในซูริคหลังจากที่เขาเข้าเรียนตอนเย็นที่ Kunstgewerbeschule ในซูริค


ตอนอายุสิบหกแม็กซ์กลายเป็นเรียงพิมพ์ฝึกงานที่สำนักงานหนังสือสำหรับฌา Bollmann (ในซูริค) หลังจากสี่ปีเป็นเด็กฝึกงาน, Miedinger ลงทะเบียนเรียนในโรงเรียนศิลปะและหัตถกรรม เมื่อเขาอายุ 26 ปีเขาไปทำงานให้กับสตูดิโอโฆษณาที่เรียกว่าโลก ที่นี่เขาทำงานเป็นผ้าขี้ริ้วและปรับปรุงทักษะของเขา หลังจากสิบปีของการทำงานที่ลูกโลก Miedinger แล้วได้รับการจ้างงานกับฮาประเภทหล่อเป็นตัวแทน ซึ่งเป็นที่ที่เขาทำเครื่องหมายในประวัติศาสตร์และการออกแบบตัวอักษรที่ใช้มากที่สุดของศตวรรษที่ 20, Helvetica


ภาพที่1 แม็กซ์ มีดิ่ง ผู้ออกแบบ และฟอนต์โลหะในยุคแรกเริ่ม


ภาพที่ 2 แสดงการใช้งานของฟอนต์


In 1956 Miedinger became a freelance graphic designer and about a year later he collaborated with Edouard Hoffman on the typeface which would later be called Helvetica.
แปลด้วยเครื่องมือแปล Google Translate
ในปี 1956 มีดิงเจอร์ ได้กลายเป็นนักออกแบบกราฟิกอิสระ และอีกประมาณหนึ่งปีต่อมาเขาได้ร่วมมือกับ เอดูอาร์ ฮอฟแมน ซึ่งจากนั้นต่อมาจึงได้ชื่อว่า Helvetica ในภายหลัง


ผลงานของ Helvetica







เรียบเรียงใหม่เพื่อให้เข้าใจง่ายขึ้น

แม็กซ์ มีดิงเจอร์ เป็นนักออกแบบตัวอักษรชาวสวิส เขาเป็นคนที่มีชื่อเสียงจากการสร้างตัวอักษร Neue Haas Grotesk(ภ.เยอรมัน) ในปี 1957 ซึ่งถูกเปลี่ยนชื่อ Helvetica ในปี 1960 เป็นสัญลักษณ์ของเทคโนโลยีที่ทันสมัยและการตลาด, Helvetica ไปทั่วโลก

ระหว่าง 1926 และ 1930 มีดิงเจอร์ เข้ารับการฝึกเป็นช่างเรียงพิมพ์ใน ซูริค หลังจากที่เขาเข้าเรียนตอนเย็นที่ Kunstgewerbeschule ในซูริค

เมื่อเขาอายุ 26 ปีเขาไปทำงานให้กับสตูดิโอโฆษณาที่เรียกว่าโลก ที่นี่ไดให้และปรับปรุงทักษะของเขา หลังจากสิบปีของการทำงานที่Globe มีดิงเจอร์ ได้รับการจ้างงานกับ โรงหล่อฮาฟไทป์ ในสวิตเซอร์แลนด์ ประดิษฐ์ฟอนต์นี้เป็นครั้งแรกในปี 2500 โดยมีชื่อเดิมเป็นภาษาเยอรมันว่า Neue Haas Grotesk

ในปี 2504 นั้นเอง บริษัทแม่ของฮาส ได้ตัดสินใจทำการตลาดฟอนต์ Neue Haas Grotesk ไปทั่วโลก และเปลี่ยนชื่อใหม่เป็นภาษาอังกฤษเพื่อให้จดจำได้ง่าย เนื่องจากกราฟฟิกดีไซน์สมัยใหม่ของสวิตเซอร์แลนด์ได้รับความนิยมอย่างมากในสมัยนั้น พวกเขาจึงเลือกชื่อ 'เฮลเวตติกา' ซึ่งออกเสียงได้ง่าย

อักษรเฮลเวตติกาปรากฏอยู่แทบทุกหนทุกแห่งภายในทศวรรษ 1980 ต่อมาได้มีการออกแบบฟอนต์
'แอเรียล (Arial)' ซึ่งเป็นเวอร์ชั่นดิจิทัลของเฮลเวตติกาในปี 2533 ซึ่งก็ได้รับความนิยมพอสมควร แต่นักออกแบบมองว่าแอเรียลเป็นผลงานเลียนแบบราคาถูก ส่งผลให้เฮลเวตติกายังยืนหยัดเป็นฟอนต์ยอดนิยมมาถึงครึ่งศตวรรษ

VDO clip from youtube


Max Miedinger - Kinetic Typography Assignment

วันพุธที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

โครงสร้างตัวอักษร

การศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับโครงสร้างของตัวอักษร

   ในส่วนต่างๆของตัวอักษรนั้นในทาง ทฤษฎี นั้น ได้มีการต้ังชื่อไว้หมดทุกส่วน เพื่อความเข้าใจที่ตรงกันในการสื่อสาร คำศัพท์สำคัญที่เกี่ยวข้องกับโครงสร้างของตัวอักษรนั้น มีมากกว่า 25 คำ สำหรับคนใช้งานทั่วไปนั้นไม่จำเป็นต้องรู้ทุกคำก็ได้ แต่สำหรับนักออกแบบนั้นถือว่าเป็นสิ่งที่ควรจะรู้ เพราะแต่ละคำศัพท์นั้นเป็นสิ่งที่บอกว่าแต่ละฟอนต์นั้นมีความแตกต่างกันอย่างไร และแต่ละฟอนต์เหมาะสำหรับการใช้ในสถานการณ์ใดบ้าง

   และรวมถึง ชื่อเรียกของแต่ละบรรทัด ซึ่งสามารถทำให้เข้าใจถึงหลักในการออกแบบตัวอักษรได้มากขึ้น ว่าในการจัดขนาดนั้นควรวางอยู่ในส่วนใดของเส้นบรรทัด ฟอนต์บางชนิดแม้กำหนดขนาด (Point) ไว้เท่ากันแต่อาจมีความสูงและขนาดที่แตกต่างกันได้เช่นฟอนต์อย่าง Helvetica แบบปกติจะมี x-height ที่สูงเป็นต้น หากเข้าใจคำศัพท์ที่เกี่ยวข้องนั้นแล้ว จะสะดวกต่อการทำงานของนักออกแบบ และควรศึกษาถึงประวัติศาสตร์และการพัฒนาของตัวอักษร

วันศุกร์ที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2559

บันทึกการเรียนครั้งที่ 4

บันทึกการเรียน

   จาการแปลข่าวในคราวนี้ ทำให้ได้ใจความว่าในยุคปัจจุบันนักออกแบบต้องทำงานโดยการสร้าง อัตลักษณ์มากขึ้นเฉกเช่นการสร้างงานศิลปะอย่างศิลปิน เพื่อให้เกิดความแตกต่างมากขึ้น กับคนทำงานปริ้นทั่วไป และควรยกตัวอย่างหรือวิธีการนำไปใช้งานด้วย เพื่อบ่งบอกว่า งานที่ทำนั้นทำหน้าที่สื่อสารในลักษณะหรือแนวทางใด เพื่อง่ายต่อการนำไปใช้ เป็นการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้เป็นอย่างดี

   ตัวอักษรที่สร้างขึ้นมาโดยที่ไม่ได้ทำให้เป็น ฟอนต์ เราเรียกว่า เลทเทอร์ริง (Lettering) ฉะนั้น ฟอนต์ หมายถึงชุดตัวอักษรที่มีรูปลักษณ์เดียวกัน รวมเป็นชุดเรียกว่า กริพห์ (Glyph) จัดเรียงอยู่บนแป้นพิมพ์ เพื่อให้สามรถนำไปใช้ในงานต่างได้ การใช้ตัวอักษรในงานกราฟิกเป็นอีกวิธีหนึ่งเพื่อช่วยในการให้เกิดความเข้าใจมากขึ้นจากการสร้าสื่อ ของผู้สร้างงาน เพื่อให้เกิดความชัดเจนและความเข้าใจที่ตรงกัน

ฟอนต์ทริค

   ในหน้าเว็ปของ กูเกิ้ล การจะเปลี่ยนการแสดงผลของชุดภาษานั้นสามารถเปลี่ยนได้โดยการ คลิกที่มุมขวาบนของหน้าจอ ที่แถบรูปสามขีดที่ชื่อว่า Customize and Google Chrome และ  More Tools และ Encoding   ในขั้นตอนนี้จะเห็ฯได้ว่า ภ.ไทย ของเรานั้นมีรหัสโค้ดที่ชื่อว่า UTF-8


ขั้นตอนการเช็ค Encoding ของ Google

ฟอนต์เวิร์ค

- ทำฟอนต์ลายมือ1ชุด ลงใน Fontlab
- นำเสนอสินค้าตัวอย่างที่จะขายในงาน กิ้ฟต์ ออน เดอะ มูน (เริ่มประมาณต้นเดือนเมษา59) นำเสนอประมาณ 3 ไอเดีย ลงบนมูดบอร์ดในสวยงาม

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

   การใช้งานโปรแกรมฟอนต์แลบนั้นเริ่มแรกด้วยการเปิดโปรแกรมแล้วตามด้วยการ import ฟอนต์เข้ามาในงานนี้เราจะใช้ฟอนต์ CRU Lanchand56 ของท่าน อ.ประชิด ในการทำงานหลังจากนั้นก็เริ่มนำฟอนต์ที่เราทำเตรียมมาเปลี่ยนและแทนที่ในตารางฟอนต์ (Glyph) เพื่อให้ได้ตำแหน่งและขนาดที่ถุกต้องเราจุงต้องมีชุดฟอนต์มาตรฐาน เเพื่อเทียบเคียงให้ถูกต้องมากที่สุด


เมื่อเปิดโปรแกรมและเปิดชุดฟอนต์เข้ามาแล้ว ให้เลือกตัวอักษรในช่องที่เราต้องการ


จากนั้นก็กลับมาที่เลือกตัวอักษรที่จะนำไปเปลี่ยนแทนที่ แล้วกด Ctrl+C เพื่อcopy


และกด Ctrl+V เพื่อวางในช่องตัวอักษรนั้น ขยับขยาย และปรับให้ขนาดใกล้เคียงตัวเก่าให้มากที่สุด


แทนที่ในตำแหน่งเดิมทำตามขั้นตอนนี่้ไปเรื่อยๆจนครบทุกตัวอักษรตามชุดที่ทำมา
ปล.อย่าลืม SAVE เป็นระยะๆเพื่อความปลอดภัยของงาน